ศูนย์สมาร์ทฟาร์ม มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

SMART FARM WALAILAK UNIVERSITY

โครงการสีเขียว ศูนย์สมาร์ทฟาร์ม

ศูนย์สมาร์ทฟาร์ม
กับการจัดการด้าน UI GreenMertic

1.1 ขนาดพื้นที่ตั้งอาคาร ของหน่วยงาน

ศูนย์สมาร์ทฟาร์มตั้งอยู่ที่สำนักงานศูนย์สมาร์ทฟาร์ม มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เลขที่ 222 ต.ไทยบุรี อ.ท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช 80160 โทรศัพท์ 075 672391


ภาพ ที่ตั้งอาคารสำนักงานศูนย์สมาร์ทฟาร์ม

1.2 ขนาดพื้นที่ที่ปกคลุมด้วยพืชพรรณ

      ในส่วนของการปลูกต้นไม้ในส่วนของศูนย์สมาร์ทฟาร์มมีดังนี้

ลำดับรายละเอียด จำนวนที่ปลูกแล้ว  จำนวนที่รอปลูก หน่วยพื้นที่ (ไร่)ปลูกวันที่
1โครงการแปลงไม้ผล 11 ชนิด     6-ก.ย.-65
 1.1 มะพร้าวน้ำหอม                    440 ต้น  
 1.2 มังคุด                    255 ต้น  
 1.3 กระท้อนพันธุ์ปุยฝ้าย                    285 ต้น  
 1.4 จำปาดะ                    184 ต้น  
 1.5 ขนุนพันธุ์ทองประเสริฐ                    305 ต้น  
 1.6 เงาะพันธุ์โรงเรียน                    360 ต้น  
 1.7 ส้มโอพันธุ์ทับทิมสยาม                    384 ต้น  
 1.8 ฝรั่งพันธุ์กิมจู                    960 ต้น  
 1.9 สละพันธุ์สุมาลี                    411 ต้น  
 1.10 ทุเรียนพันธุ์หมอนทอง                    450 ต้น  
 1.11 มะนาวพันธุ์แป้นพิจิตร                    328 ต้น  
 รวม              4,362 ต้น131.5 
2โครงการปลูกทุเรียน     
 2.1 แปลง A                  1,502 ต้น666-ก.ย.-65
 2.2 แปลง B                 1,573 ต้น766-ก.ย.-65
 2.3 แปลง C                  1,091 ต้น506-ก.ย.-65
 2.3.1 ทุเรียนสายพันธุ์ ก้านยาว                       2 ต้น แถวที่ 2 ต้นที่ 2,3
 2.3.2 ทุเรียนสายพันธุ์ ชะนีไข่                       2 ต้น แถวที่ 3 ต้นที่ 2,3
 2.3.3 ทุเรียนสายพันธุ์ มูซังคิงส์                       1 ต้น แถวที่ 4 ต้นที่ 3
 2.3.4 ทุเรียนสายพันธุ์ หลงลับแล                       1 ต้น แถวที่ 5 ต้นที่ 2
 2.3.5 ทุเรียนสายพันธุ์ พวงมณี                       2 ต้น แถวที่ 6 ต้นที่ 1,2
 2.3.6 ทุเรียนสายพันธุ์ หลินลับแล                       1 ต้น แถวที่ 7 ต้นที่ 2
 2.3.7 ทุเรียนสายพันธุ์ ทองตำตัว                       1 ต้น แถวที่ 8 ต้นที่ 2
 2.3.7 ทุเรียนสายพันธุ์ หนามดำ                       2 ต้น แถวที่ 9 ต้นที่ 1,2
 2.4 แปลง D                 1,378 ต้น586-ก.ย.-65
 รวม              5,556               –  ต้น250 
3โครงการปลูกสละพันธุ์สุมาลี     
 3.1 แปลงที่ 1                 3,000 ต้น1006-ก.ย.-65
 3.2 แปลงที่ 2                  1,500 ต้น806-ก.ย.-65
 3.3 แปลงที่ 3                 1,000 ต้น40 
 รวม              5,500               –  ต้น220 
4โครงการปลูกมังคุด     
 4.1 เฟสที่ 1                  2,200 ต้น606-ก.ย.-65
 4.2 เฟสที่ 2  ต้น120 
 รวม              2,200 ต้น180 
5โครงการปลูกขนุนพันธุ์ทองประเสริฐ     
 5.1 แปลง 1                    600 ต้น256-ก.ย.-65
 5.2 แปลง 2                      –                1,500ต้น60 
 5.3 แปลง 3                 1,540 ต้น656-ก.ย.-65
 5.4 แปลง 4                    400              1,275ต้น676-ก.ย.-65
 5.5 แปลง 5                      –                   250ต้น10 
 5.6 แปลง 6  (น้องน๊ะ)                     50 ต้น2 
 รวม              2,590            3,025ต้น229 
6โครงการยางพารา     
 6.1 PR : 01                 1,556 ต้น18 
 6.2 PR : 02                 1,115 ต้น12 
 6.3 PR : 03                    638 ต้น12 
 6.4 PR : 04                 1,264 ต้น21 
 6.5 PR : 05               15,487 ต้น346 
 6.6 ยางแก่                 1,500 ต้น100 
 รวม            21,560 ต้น509 
7โครงการปาล์มน้ำมัน  ต้น  
 7.1 PO:01    26 
 7.1 PO:02   18 
 7.2 PO:03/1   110 
 7.3 PO:03/2   128 
 7.4 PO:03/3   28 
 7.5 PO:03/4   46 
 7.6 PO:03/5   188 
 7.7 PO:04   10 
 7.8 PO:04/1   65 
 รวม            13,618 ต้น619 
7โครงการปลูกมะพร้าวน้ำหอม                 6,180 ต้น  
 รวม              6,180 ต้น150 
8โครงการแปลงวิจัยและพัฒนาการผลิตพืช (ระยะสั้น)     
 8.1 กล้วยหอมไทย                    500 ต้น 6-ก.ย.-65
 8.2 ชมพู่ทับทิมจันทร์                    200 ต้น 6-ก.ย.-65
 8.3 ฝรั่งกิมจู                     63 ต้น 6-ก.ย.-65
 รวม                763 ต้น100 
รวม            62,497            3,025ต้น  
รวมต้นไม้ทั้งหมด          65,522ต้น  2,388.50 
ข้อมูล ณ วันที่ 17 ก.ย.62

1.3 จำนวนบุคลากรทั้งหมดของหน่วยงาน

        ศูนย์สมาร์ทฟาร์ม มีบุคลากรทั้งหมด 26 คนดังนี้

-ผู้อำนวยการ 1 คน

-เจ้าหน้าที่สายปฏิบัติการและสนับสนุนวิชาชีพ 7 คน

– ลูกจ้างชั่วคราว 18 คน

2.1 การใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ช่วยประหยัดพลังงาน

ศูนย์สมาร์ทฟาร์ม ได้มีการเลือกใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ช่วยในการประหยัดพลังงาน เช่น เครื่องหม้อต้มน้ำร้อน ไมโครเวฟ หลอดไฟ

2.2 การผลิตพลังงานหมุนเวียนภายในหน่วยงาน

       ในปีงบประมาณ 2562 ทางศูนย์สมาร์ฟาร์มยังไม่มีข้อมูลของการผลิตพลังงานหมุนเวียนภายในหน่วยงาน แต่ทั้งนี้ในปีงบประมาณ 2563 ที่จะเกิดขึ้น คาดว่าน่าจะการผลิตพลังงานหมุนเวียนภายในหน่วยงาน เนื่องจากทางมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ได้ลงนามความร่วมมือทางวิชาการกับทาง บมจ.เจริญโภคภัณฑ์ ในการจัดทำโครงการ “ฟาร์มสธิตการเลี้ยงสุกรและไก่ไข่ ระบบปิดอัตโนมัติ(Green Farm) และได้ตั้งเป้าไว้ว่ามูลสุกรที่ได้จากโครงการจะนำมาทำพลังงานชีวมวล เพื่อใช้ในหฟาร์มสุกร และพื้นที่อื่นๆ

2.3 ปริมาณการใช้ไฟฟ้าทั้งปี 2561

รอข้อมูล

2.4 โปรแกรมการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก

ศูนย์สมาร์ทฟาร์ม มีนโยบายการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก เช่น

  • ปิดเครื่องใช้ไฟฟ้า ถอดปลั๊กทุกครั้งที่เลิกใช้งาน
  •  ปิดไฟดวงที่ไม่จำเป็น โดยเปิดเฉพาะดวงที่จำเป็นต้องใช้จริง ๆ
  • เปลี่ยนไปใช้ไฟแบบหลอด LED จะได้ไฟที่สว่างกว่าและประหยัดกว่าหลอดปกติ 40%
  • ยืดอายุตู้เย็นด้วยการไม่นำอาหารร้อนเข้าตู้เย็น และหลีกเลี่ยงการนำถุงพลาสติกใส่ของในตู้เย็น เพราะจะทำให้ตู้เย็นจ่ายความเย็นได้ไม่ทั่วถึงอาหาร
  •  ละลายน้ำแข็งที่เกาะในตู้เย็นเป็นประจำ เพราะตู้เย็นจะกินไฟมากขึ้นเมื่อมีน้ำแข็งเกาะ
  • ใช้จักรยาน หรือเดินไปก็ดี ได้ออกกำลังกายไปในตัวด้วย
  • ลดการใช้กระดาษ ตรวจสอบความถูกต้องการสั่งพิมพ์งาน ใช้กระดาษรียูส
  • ลดใช้พลาสติก โดยเลือกใช้ของที่สามารถนำมารีไซเคิลได้ เช่น กระเป๋าผ้า หรือกระติกน้ำ
  • รณรงค์ให้ทานอาหารให้หมด เพราะเศษอาหารเหล่านั้นก่อให้เกิดก๊าซมีเทน ซึ่งก่อให้เกิดความร้อนต่อโลกเพิ่มขึ้น
  • ปลูกต้นไม้ เพราะต้นไม้จะคายความชุ่มชื้นให้กับโลก และ ช่วยดูดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งเป็นสาเหตุภาวะเรีอนกระจก

2.5 นโยบายอนุรักษ์การใช้พลังงานของหน่วยงาน

  • เปิดเครื่องปรับอากาศ เวลา 9.00 น.ถึง เวลา 11.30 น. และเวลา 13.30 ถึง เวลา 16.00 น. 
  • ปรับเครื่องปรับอากาศที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส
  • ปิดไฟเฉพาะที่โต๊ะเวลาที่ลุกออกจากโต๊ะ หรือในตอนเที่ยงหรือเมื่อไม่มีคนอยู่ห้อง
  • ตั้งปิดหน้าจอคอมพิวเตอร์เวลาตอนเที่ยงหรือไม่ใช้งานศูนย์
  • การลดใช้พลาสติก โฟมโดยการนำภาชนะที่สามารถใช้ซ้ำได้ เช่น ใช้กระติกน้ำบรรจุน้ำดื่ม ใช้ปิ่นโต

3.1นโยบายการลดใช้กระดาษและพลาสติกในส่วนงาน

ศูนย์สมาร์ทฟาร์ม รณรงค์ให้บุคลากรในหน่วยงานลดการใช้กระดาษโดยการส่งข้อมูลทาง e-mail,line,facebook และการใช้กระดาษรีไซเคิลกลับมาใช้ซ้ำ

ในส่วนของพลาสติก ขอความร่วมมือให้ทุกคนนำแก้วที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ และให้ใช้ทุกครั้งที่ไปซื้อเครื่องดื่ม รณรงค์ให้ช้ปิ่นโตสำหรับอาหารกลางวัน

3.2โครงการรณรงค์การรีไซเคิลขยะ

    รณรงค์ให้มีการคัดแยกขยะก่อนทิ้งลงถังแต่ละประเภท 

       

3.3 การจัดการขยะมีพิษ

N/A

3.4 การจัดการขยะอินทรีย์

ได้มีการนำเศษใบไม้ เอาไว้เป็นอาหารของสัตว์ และใช้ทำปุ๋ยหมัก ไว้ใช้ในแปลงพืชต่างๆ

3.5 การบำบัดขยะอนินทรีย์

 การนำของที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์แล้วนำกลับมาใช้ใหม่ให้เกิดประโยชน์ เช่น การนำเหล็กที่ไม่ใช้แล้ว มาทำเป็นที่ล้างจาน ทำป้ายแปลงพืชต่างๆ จากป้ายที่ผ่านการใช้งานจากโครงการอื่นๆแล้ว

3.6 การจัดการน้ําเสีย

N/A

4.1โครงการหรือกิจกรรมการอนุรักษ์/การลดการใช้น้ำในหน่วยงาน

ศูนย์สมาร์ทฟาร์มได้ดำเนินการขุดสระ เพื่อกักเก็บน้ำไว้ใช้ในแปลงต่างๆ

4.2 การดําเนินโครงการรีไซเคิลน้ำ

N/A

4.3 การใช้อุปกรณ์ประหยัดน้ำที่มีประสิทธิภาพ

N/A

4.4 นโยบายอนุรักษ์การใช้น้ำของหน่วยงาน

  • มอบหมายนายช่างเทคนิคการสำรวจตรวจสอบการรั่วไหลของน้ำเป็นประจำสม่ำเสมอ

  • ตรวจสอบชักโครกว่ามีจุดรั่วซึมหรือไม่

  • ไม่เปิดน้ำไหลตลอดเวลาขณะใช้งาน

  • ไม่ทิ้งเศษอาหาร กระดาษ สารเคมีทุกชนิด ลงในชักโครกเพราะจะสูญเสียน้ำปริมาณมากในการชักโครกเพื่อไล่สิ่งของดังกล่าวลงท่อ

  • ใช้สบู่เหลวแทนสบู่ก้อนเมื่อต้องการล้างมือเพราะการใช้สบู่ก้อนล้างมือจะใช้เวลามากกว่าการใช้สบู่เหลว ที่ทำให้สิ้นเปลืองน้ำมากกว่า

  • ใช้ระบบสปริงเกิลและน้ำหยด รดน้ำต้นไม้

5.1 จำนวนเฉลี่ยรถจักรยานที่ใช้งานภายในหน่วยงานของแต่ละวัน

N/A เนื่องจากศูนย์สมาร์ทฟาร์ม มีอาคารสำนักงานตั้งอยู่แยกจากหน่วยงานอื่่นๆของมหาวิทยาลัย ทำให้ไม่สะดวกต่อการใช้จักรยาน

5.2 ความคิดริเริ่มระบบการขนส่งเกี่ยวกับ การจำกัด หรือลดยานพาหนะส่วนตัวในมหาวิทยาลัย

  • ใช้บริการรถสวัสดิการของมหาวิทยาลัยในการเดินทางไปกลับ การปฏิบัติงาน
  • ใช้บริการยานพาหนะ ของมหาวิทยาลัยในการปฏิบัติงานนอกพื้นที่ โดยใช้วิธีการทางเดียวกัน ไปด้วยกัน เพื่อลดการใช้ยานพาหนะ

5.3 นโยบายการใช้ทางเท้าและใช้รถจักรยาน

N/A

6.1รายวิชาทั้งหมดเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน 

N/A
6.2จำนวนทุนวิจัยทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม 

N/A
6.3จำนวนทุนวิจัยทั้งหมด

N/A
6.4จำนวนผลงานตีพิมพ์ที่เกี่ยวกับเรื่องสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน

N/A
6.5จำนวนงานแสดงทางวิชาการที่เกี่ยวกับเรื่องสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน

N/A
6.6จำนวนชมรมหรือองค์กรนิสิตที่ดำเนินกิจกรรมเกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม

N/A